Everything about วิจัยกรุงศรี

จีน: เศรษฐกิจฟื้นตัวช้าจากวิกฤตภาคอสังหาริมทรัพย์และปัญหาเชิงโครงสร้างส่วนนโยบายระหว่างประเทศหลังเลือกตั้งในไต้หวันยังสะท้อนความเสี่ยงต่อเนื่อง

'ก่อแก้ว' เลื่อนลำดับเป็น สส.บัญชีราชื่อ แทน 'สุดาวรรณ'

ตัวตนเบื้องหลัง “มนุษย์หน้ากาก” บนเวทีพาราด็อกซ์

วิจัยกรุงศรีมองว่า ปัญหาหลักของเศรษฐกิจไทย คือ กำลังซื้อครัวเรือนที่อ่อนแอจากภาวะเงินเฟ้อและรายได้ของผู้บริโภคที่ลดลง ดังนั้นการผสานนโยบายการเงินเพื่อควบคุมเงินเฟ้อคาดการณ์ ประกอบการปรับใช้มาตรการการคลังในการช่วยบรรเทาผลกระทบต่อครัวเรือนรายได้น้อยจึงมีความสำคัญในการป้องกันการชะลอตัวของเศรษฐกิจ

มันสำปะหลัง:การส่งออกจะโตอย่างแข็งแกร่งด้วยอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นจากจีน

ห่วงโซ่อุปทานด้านการผลิตมีแนวโน้มที่จะสั้นลง มีความหลากหลายมากขึ้น และแยกย่อยเป็นระดับภูมิภาคมากขึ้น เพราะการค้าโลกเจออุปสรรคมากขึ้น รวมไปถึงการปรับตัวของประเทศเศรษฐกิจหลักเพื่อพึ่งพาตนเองมากขึ้นในการจัดหาสินค้าเข้าสู่ตลาดในประเทศ

'วิจัยกรุงศรี'ชี้ส่งออกมีสัญญาณชะลอลง ห่วงตลาดแรงงานยังอ่อนแอหนัก วิจัยกรุงศรี ออกบทวิเคราะห์ ระบุว่า มูลค่าส่งออกเดือนเมษายนแผ่วลง จากผลกระทบที่ชัดชึ้นจากการชะงักงันของห่วงโซ่การผลิต

(รายละเอียดเพิ่มเติมติดตามได้ที่ อุตสาหกรรมไทย: อยู่ตรงไหนและจะแข่งขันอย่างไรในเวทีโลก)

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ

ผู้ดูแลเว็บไซต์ นายวิชัย สอนเรือง ดูแลรับผิดชอบข่าว / ภาพ / โฆษณา / ข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์

ปัจจัยสนับสนุนและความท้าทายในตลาดคาร์บอนเครดิตไทย

วิจัยกรุงศรี วิจัยกรุงศรี มองว่า แรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจสำคัญมาจากทั้งปัจจัยภายในและภายนอกประเทศ  ได้แก่ ความคืบหน้าของการกระจายวัคซีนที่ช่วยหนุนให้ไทยและหลายๆ ประเทศสามารถเปิดประเทศได้กว้างขวางขึ้น การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลกและผลเชิงบวกจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคส่งผลดีต่อภาคส่งออกของไทยเติบโตได้ต่อเนื่อง การปรับตัวของภาคธุรกิจอาจนำไปสู่วัฏจักรการลงทุนรอบใหม่ แรงสนับสนุนจากมาตรการภาครัฐที่ช่วยกระตุ้นการใช้จ่ายในประเทศ ขณะที่ภาคท่องเที่ยวมีทิศทางปรับดีขึ้นแต่ยังคงเป็นระยะแรกของการฟื้นตัว

อุปสงค์ฟื้นตัวอย่างช้าๆ ท่ามกลางอุปทานจำนวนมาก ส่งผลให้อัตราใช้พื้นที่ลดลงสู่ระดับต่ำสุดในรอบหลายปี

ภาวะภัยแล้งจะส่งผลกระทบต่อพืชสำคัญหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ยางพารา ปาล์มน้ำมัน รวมถึงผลไม้ต่างๆ อาทิ มะม่วง ทุเรียน สับปะรด แต่ระดับความเสียหายจะแตกต่างกันไปตามบริบทที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับประเภทของพืช พื้นที่และภูมิภาคที่เพาะปลูก ช่วงเวลาเพาะปลูก และช่วงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิต ยกตัวอย่างเช่นไม้ยืนต้น อาทิ ยางพารา ปาล์มน้ำมัน มะม่วง ทุเรียน โดยธรรมชาติแล้วจะสามารถทนแล้งได้นานกว่าพืชระยะสั้นหรือพืชล้มลุก แต่ปริมาณผลผลิตอาจลดลงตามพื้นที่ปลูกในแต่ละภูมิภาค แต่ในกรณีพืชล้มลุก อาทิ ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ข้าวโพด ผลกระทบจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับช่วงฤดูเพาะปลูก ช่วงระยะเติบโต และช่วงเก็บเกี่ยว

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *